ปัญหาใหญ่ ของการจัดการขยะในปัจจุบัน คือ การปนเปื้อนของเศษอาหาร กับขยะประเภทอื่น โดยเฉพาะ ขยะรีไซเคิล
ทำให้ไม่สามารถนำไปรีไซเคิลได้
โครงการไม่เทรวม จึงรณรงค์ให้ทุกคน แยกขยะเศษอาหารออกจากขยะทั่วไป
ขยะเปียก
รีไซเคิลไม่ได้
ขยะรีไซเคิล
ผลลัพธ์
ในปี 2566 กทม.ได้ทำโครงการไม่เทรวม
จากที่ 50 เขตได้ดำเนินการตั้งแต่ปี 66
ประหยัดงบประมาณได้กว่า
141 ล้านบาท
คัดแยกเศษอาหาร
-
ปี 2566 แยกได้ 18,519 ตัน
(เฉลี่ย 63 ตัน/วัน) -
ปี 2567 แยกได้ 33,693 ตัน
(เฉลี่ย 184 ตัน/วัน)
เฉพาะเดือนมีนาคมอยู่ที่ 250 ตันต่อวัน
ลดการปล่อยคาร์บอนได้กว่า
30,000 ตัน/ปี
เงิน 141 ล้านบาท
เอาไปทำอะไรได้บ้าง
วิธีการทิ้งขยะ 2 แบบ
เลือกแบบที่คุณสะดวกได้เลย
1. วิธีการทิ้งแบบง่ายๆ
แยก “ขยะเศษอาหาร” ออกจาก ”ขยะทั่วไป”
ข้อดีคือ
- สะดวก ง่ายต่อการทำ
- ช่วยเพิ่มโอกาสในการรีไซเคิล
- สามารถนำขยะอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น ทำปุ๋ยหมัก
2. วิธีการทิ้งขยะแบบละเอียด
แยกขยะเป็น 4 ประเภท
ข้อดีคือ
- ทำให้สามารถจัดการหรือใช้ประโยชน์จากขยะอย่างถูกวิธี
- ส่งเสริมให้เกิดการรีไซเคิลสูงสุด
- เพิ่มความปลอดภัยให้กับพนักงานเก็บขยะ
เมาส์
ร่มเก่า
ตลับขี้ผึ้งนับกระดาษ
คัตเตอร์
แบตเตอรี่สำรอง
สายรัดกล่อง
ลิปสติก
เชือก
ขวดนม
แป้นคีย์บอร์ด
คีม
เครื่องคิดเลขเสีย
จะรู้ได้ยังไงว่าขยะอะไร
เป็นประเภทไหน
How to ทิ้ง รวมรายการขยะทั้งหมดไว้ให้แล้ว
เข้าสู่หน้า How to ทิ้ง
ปี 2024 แล้วยังคิดว่ากทม.
เทรวมอยู่อีกเหรอ
หลายคนคงเคยเห็นรถขยะของกทม. ที่วิ่งเก็บ ขยะตามชุมชน
แต่รู้หรือไม่ว่า รถขยะเหล่านี้ไม่ได้แค่ เก็บขยะเฉยๆ แต่ยังมีส่วนช่วย คัดแยกขยะ ก่อนนำไปกำจัดอีกด้วย
ตัวรถแบ่งเป็นส่วนเก็บขยะประเภทต่างๆ
เช่น ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย
และขยะทั่วไป
บางคนอาจจะเห็นว่าพนักงาน
เทขยะมารวมกัน
ที่หลังรถ
แล้วคิดว่าเป็นการเทขยะรวมกัน
แต่จริงๆแล้ว พวกเขากำลัง
คัดแยกขยะกันอยู่นะ
เป้าหมายปี 2567
ขยายโครงการครอบคลุม
50 เขต
จัดระบบรองรับ
ขยะแยกประเภท และจัดจุดรวบรวมขยะจัดหารถเก็บขยะเศษอาหาร
และขยะรีไซเคิลจัดทำบัญชีรายชื่อ
ผู้เข้าร่วมโครงการเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ
คุณชอบเนื้อหาหน้านี้ไหม?
ชอบไม่ชอบ