How to ทิ้ง
การทิ้งขยะอย่างถูกวิธีไม่เพียงแต่ช่วยให้บ้านของเราสะอาดและปลอดภัยเท่านั้น แต่ยังช่วย
รักษาสิ่งแวดล้อมและสนับสนุนการรีไซเคิลได้อีกด้วย หน้านี้เป็นแหล่งข้อมูล ที่ครบถ้วนสำหรับ
ทุกคนที่ต้องการเรียนรู้วิธีการทิ้งขยะมากกว่า 144 ประเภทอย่างถูกต้อง
ก้นบุหรี่
กระดาษ
กระดาษห่อของขวัญ
กระถางต้นไม้พลาสติก
กระทะโลหะ
กระป๋องมีฝาเปิด
กระป๋องอลูมิเนียม
กระป๋องเหล็ก
กระปุกครีม
กล่องกระดาษ
กล่องกระดาษลัง
กล่องนม,น้ำผลไม้
กล่องอาหารพลาสติก
กล่องเครื่องสำอาง
กล่องโฟม
กากกาแฟ
กาวแท่ง
ขนมปัง
ขวดซอส ขวดน้ำปลา
ขวดนม
ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำ
ขวดน้ำหอม
ขวดพลาสติกสี
ขวดพลาสติกใส
ขวดยาสระผม
ขวดสเปรย์ (น้ำหอม)
ขวดสเปรย์ (สี, ยาฆ่ายุง)
ขวดสเปรย์โลหะ
ขวดแก้ว
ขวดแป้งเด็ก
คอตตอนบัดใช้แล้ว
คัตเตอร์
คีม
จดหมาย
จักรยาน
ฉลากขวดน้ำ
ช้อนส้อมพลาสติก
ช้อนส้อมโลหะ
ชุดชั้นใน
ชุดตรวจ ATK
ซองซอส
ซากสัตว์
ดอกไม้ปลอม
ต้นไม้ที่ตายแล้ว
ต้นไม้ยังไม่ตาย
ตลับขี้ผึ้งนับกระดาษ
ตลับหมึกพิมพ์
ตลับเครื่องสำอางค์
ตู้ปลา
ถ้วย จาน ชาม แตก
ถ้วยกระดาษเคลือบฟิล์มพลาสติก
ถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปกระดาษ
ถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปพลาสติก
ถ้วยฟอยล์
ถ้วยอาหาร
ถ้วยโยเกิร์ต
ถ่านไฟฉาย
ถุงกระดาษ
ถุงขนม
ถุงชา
ถุงน้ำเกลือ
ถุงฟอยล์
ถุงยางอนามัย
ถุงสลายตัวได้ ทางชีวภาพ
ถุงหิ้วพลาสติก
ถุงเติม
ถุงแกง
ทิชชู่
ทิชชู่เปียก
นำ้มันปรุงอาหาร
นิตยสาร
บัตรเครดิต
ผ้าม๊อบดักฝุ่น
ผ้าห่ม
ผ้าอนามัย
ผ้าอ้อม
ฝอยขัดหม้อ
ฝาขวดโลหะ
พรม
พลาสติก Wrap อาหาร
พลาสติกกันกระแทก
ฟองน้ำล้างจาน
ฟองน้ำแต่งหน้า
ฟิวเจอร์บอร์ด
มีดโกนด้ามพลาสติก
มูลสัตว์
ยา
ยาดม
ร่มเก่า
รองเท้า
ลวดมัดปากถุง
ลวดเย็บกระดาษ
ลิปสติก
สายรัดกล่อง
สำลีใช้แล้ว
หนังยาง
หนังสือพิมพ์
หน้ากากอนามัย
หมอน
หม้อสแตนเลส
หลอดบีบ
หลอดพลาสติก
หลอดยาสีฟัน
หลอดไฟ
อลูมิเนียมฟอยล์
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เข็มฉีดยา
เครื่องคิดเลขเสีย
เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก
เคสมือถือ
เชือก
เปลือกไข่
เฟอร์นิเจอร์
เมมโมรี่การ์ด
เมาส์
เศษผลไม้และผัก
เศษเนื้อสัตว์
เศษแก้ว
เศษใบไม้กิ่งไม้
เสื้อผ้า
แก้วกาแฟกระดาษ
แก้วน้ำแตก
แก้วพลาสติก
แก้วพลาสติก (ชานมไข่มุก)
แก๊สกระป๋อง
แคปซูลกาแฟอลูมิเนียม
แบตเตอรี่รถยนต์
แบตเตอรี่สำรอง
แป้นคีย์บอร์ด
แปรงทาสี
แปรงสีฟัน
แผ่นกระจก
แผ่นมาส์กหน้า
แว่นตา
โคมไฟ
โทรทัศน์
ใบมีดโกน
ใบเสร็จ
ไฟแช็ก
ไม้เสียบ
ไม้แขวนเสื้อโลหะ/พลาสติก
ไม้แขวนเสื้อไม้
ไส้กรองน้ำ
ไส้เครื่องฟอกอากาศ
ก้นบุหรี่
-
1
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าบุหรี่ดับสนิทก่อนทิ้ง
-
2
นำไปแยกทิ้งลงในถังขยะทั่วไป
-
3
หลีกเลี่ยงการทิ้งลงพื้นหรือพื้นที่ทางธรรมชาติ
ก้นบุหรี่ทำมาจาก?
ก้นกรองของบุหรี่ประกอบไปด้วยกระดาษและใยสังเคราะห์ เซลลูโลสอะซิเตท เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งใช้เวลาย่อยสลายนานกว่า 10-15 ปี
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระดาษ
-
1
รวมรวมกระดาษใช้แล้วไว้เป็นตั้งเพื่อประหยัดพื้นที่จัดเก็บ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระดาษห่อของขวัญ
-
1
หากเป็นกระดาษเคลือบพลาสติก กากเพชร และอื่นๆ ทำให้ไม่สามารถรีไซเคิลได้
-
2
หากเป็นกระดาษทั่วไปสามารถรวมกับเศษกระดาษอื่นๆ ได้
กระดาษห่อของขวัญที่รีไซเคิลได้
กระดาษห่อของขวัญบางประเภทสามารถรีไซเคิลได้ เช่น กระดาษคราฟท์ กระดาษที่ทำมาจากเยื่อกระดาษ 100% และกระดาษที่ใช้สีพิมพ์ออร์แกนิค
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระถางต้นไม้พลาสติก
-
1
ล้าง เศษดิน และ สิ่งสกปรก ออกจากกระถางให้สะอาด
-
2
นำกระถางต้นไม้พลาสติกที่ทำความสะอาดแล้ว ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
พลาสติกทำกระถางทำไมรีไซเคิลได้บ้างไม่ได้บ้าง?
พลาติกที่ทำกระถาง ผู้ผลิตบางรายอาจใช้พลาสติกเกรดต่ำ ทำให้ไม่สามารถรีไซเคิลต่อได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระทะโลหะ
-
1
กระทะโลหะสามารถรีไซเคิลได้ ไม่ว่าจะอยู่สภาพดี หรือชำรุดแล้ว
-
2
สามารถทิ้งในถังขยะรีไซเคิล หรือขายกับร้านรับซื้อของเก่าได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระป๋องมีฝาเปิด
-
1
เทของข้างในให้หมด
-
2
(อาจ) ล้างเพื่อป้องกันแมลงและการเน่าเสีย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระป๋องอลูมิเนียม
-
1
เทของข้างในให้หมด
-
2
(อาจ) ล้างเพื่อป้องกันมด และแมลง
-
3
บีบแบน หรือทุบเพื่อประหยัดพื้นที่จัดเก็บ
-
4
ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระป๋องเหล็ก
-
1
เทเศษอาหารออกให้หมด
-
2
ล้างทำความสะอาด
-
3
ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กระปุกครีม
-
1
เตรียมคีมหนีบสำหรับแยกโฟมและพลาสติกส่วนอื่นๆ ออกจากกัน
-
2
ทำความสะอาดกระปุกครีมให้เรียบร้อย
-
3
ใช้คีมหนีบแยกโฟมบนฝา และแยกตัวกระปุกกรณีที่มีชั้นในและชั้นนอก
-
4
ตัวกระปุกที่เป็นแก้วและฝาที่เป็นอะลูมิเนียมส่งไปรีไซเคิล ส่วนพลาสติกเนื่องจากแยกเกรดยาก แนะนำให้ส่งไปเผาเป็นพลังงาน
ถ้าไม่ทิ้งขยะได้หรือเปล่า
สำหรับบางยี่ห้อ เราไม่จำเป็นต้องแยกส่วนเพื่อทิ้งขยะ แต่เราสามารถส่งกลับไปหรือนำไปส่ง ณ จุดรับของทางแบรนด์ได้เลย เพื่อให้ทางแบรนด์ไปจัดการต่อ และบางยี่ห้อจะมีการสะสมคะแนนต่างๆ เมื่อเรานำบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางส่งคืนด้วย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องกระดาษ
-
1
หากเป็นกล่องขนมที่มีชั้นพลาสติกเคลือบให้ทิ้งเป็นขยะทั่วไป
-
2
หากเป็นกล่องขนมที่มีส่วนพลาสติกใสๆ เพื่อให้เห็นขนมด้านใน ให้ลอกส่วนพลาสติกทิ้งในถังขยะทั่วไป
-
3
หากไม่มีพลาสติกเคลือบ เป็นกระดาษล้วนๆ ให้ทิ้งเป็นขยะรีไซเคิล
จะรู้ได้ยังไงว่ากล่องมีชั้นพลาสติกเคลือบรึเปล่า
กล่องขนมที่มีพลาสติกเคลือบมักจะมีลักษณะเงางามหรือมันวาวอาจรู้สึกลื่นเมื่อสัมผัส กล่องกระดาษธรรมดามักจะมีผิวด้านและดูดซับความชื้นได้ หรือลองฉีกกล่องเบาๆ หากฉีกแล้วมีเยื่อพลาสติก แสดงว่ามีพลาสติกเคลือบ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องกระดาษลัง
-
1
พับกล่องให้แบบ รวบรวมไว้เป็นตั้ง มัดเชือกเพื่อให้ขนย้ายง่าย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องนม,น้ำผลไม้
-
1
ดื่มให้หมด สำคัญมาก! เทของเหลวออกให้หมดก่อน
-
2
แกะส่วนประกอบ โดยใช้กรรไกรเปิดกล่องออกมา
-
3
ถ้ามีส่วนที่เป็นพลาสติก เช่นขั้วของฝา ให้ ตัดแยกส่วนที่เป็นพลาสติกออกทิ้งในถังขยะทั่วไป
-
4
ถ้ามีฝาพลาสติก ให้ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิลร่วมกับพลาสติกอื่นๆ
-
5
ล้างทำความสะอาด ตากให้แห้ง
-
6
พับแบนๆเพื่อลดพื้นที่จัดเก็บ
-
7
ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องอาหารพลาสติก
-
1
ทำความสะอาดกล่องอาหารให้เรียบร้อย และตากให้แห้ง
-
2
สังเกตสัญลักษณ์ที่กล่องว่าสามารถรีไซเคิลได้ไหม หากรีไซเคิลได้ให้นำไปทิ้งรวมกับขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องเครื่องสำอาง
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป: กล่องเครื่องสำอางส่วนใหญ่เป็นแบบเคลือบพลาสติกหรืออื่นๆ ทำให้ตัวกระดาษที่เป็นกล่องไม่สามารถรีไซเคิลได้
จะรู้ได้ยังไงว่ากล่องมีชั้นพลาสติกเคลือบรึเปล่า
กล่องขนมที่มีพลาสติกเคลือบมักจะมีลักษณะเงางามหรือมันวาวอาจรู้สึกลื่นเมื่อสัมผัส กล่องกระดาษธรรมดามักจะมีผิวด้านและดูดซับความชื้นได้ หรือลองฉีกกล่องเบาๆ หากฉีกแล้วมีเยื่อพลาสติก แสดงว่ามีพลาสติกเคลือบ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กล่องโฟม
-
1
แยกเศษอาหารที่มาจากตัวบรรจุภัณฑ์
-
2
(อาจ) ล้างเพื่อป้องกันมด และแมลง
-
3
ทิ้งลงในถังขยะทั่วไป
กล่องโฟมย่อยสลายไม่ได้?
เป็นขยะที่มักจะย่อยสลายไม่ได้ หรือย่อยสลายยากแต่ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าต่อการรีไซเคิล จำเป็นต้องหาวิธีกำจัดอย่างถูกวิธี
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กากกาแฟ
-
1
รวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
กาวแท่ง
-
1
ใช้กาวให้หมด นำหลอดกาวไปล้างและทำความสะอาด
-
2
นำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขนมปัง
-
1
รวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดซอส ขวดน้ำปลา
-
1
แยกฝาพลาสติก ฉลาก และขวดออกจากกัน
-
2
ทำความสะอาดขวดให้สะอาดและตากให้แห้ง
-
3
ฉลากรวบรวมและทิ้งลงในถังขยะทั่วไป
-
4
ฝาขวดเก็บรวบรวมใส่ถุงแยกกับขวดและนำไปทิ้งลงถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดนม
-
1
หลังจากดื่มเสร็จ หากมีฝาฟอยล์ให้ดึงออก และล้างทำความสะอาดขวดและตากให้แห้ง
-
2
นำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดน้ำยาล้างห้องน้ำ
-
1
ใช้ให้หมด ผสมน้ำเปล่าในขวดเขย่าแล้วเทออกให้หมด
-
2
(อาจ) ลอกฉลากพลาสติกออก
รวบรวมส่งไปรีไซเคิลเป็นเฟอร์นิเจอร์ได้
ส่วนใหญ่ทำจากพลาสติก HDPE มีลักษณะขุ่น ยืนหยุ่น ผิวไม่มันเงา แข็งเหนียว ยังสามารถนำมารีไซเคิลเป็นเฟอร์นิเจอร์ต่างๆได้ เช่น ศาลา ม้านั่ง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดน้ำหอม
-
1
ใช้น้ำหอมจนหมดขวด
-
2
ถ้าสามารถแกะฝาออกมาได้ สามารถทำความสะอาดขวดและตากให้แห้ง
-
3
นำกระดาษมาห่อขวดแก้ว เขียนกำกับว่า "ขวดแก้ว" และนำไปทิ้งถังขยะรีไซเคิล
เอาไปทำอย่างอื่นได้ไหมนะ?
สำหรับน้ำหอมบางยี่ห้อเราสามารถนำไปรีฟิลได้ สามารถตรวจสอบได้จากแบรนด์ที่ซื้อ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดพลาสติกสี
-
1
เทน้ำหรือของเหลวออกให้หมด
-
2
ไม่ต้องแยกฝาและฉลาก
-
3
บีบขวดเพื่อประหยัดพื้นที่
PET รีไซเคิลได้ แต่ขายไม่คุ้มทุน
ขวดพลาสติก PET สามารถรีไซเคิลได้ แต่เนื่องจากราคาที่ต่ำ ทำให้ธุรกิจรีไซเคิลบางส่วนไม่รับจัดการเพราะไม่คุ้มทุน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดพลาสติกใส
-
1
เทน้ำหรือของเหลวออกให้หมด
-
2
ไม่ต้องแยกฝาและฉลาก
-
3
บีบขวดเพื่อประหยัดพื้นที่
ขวดพลาสติกสี ยังไม่เป็นที่นิยมในการรีไซเคิล
ขวดพลาสติกสี เช่น ขวดน้ำวิตามิน ยังไม่เป็นที่นิยม ในการรีไซเคิล แนะนำให้ทิ้งในถังขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดยาสระผม
-
1
ใช้ให้หมดขวด ผสมน้ำเขย่าเพื่อล้างน้ำยาในขวด
-
2
แกะฉลากติดขวด
-
3
หากเป็นขวดหัวปั๊ม (อาจ)แกะแยกเพื่อเอาสปริงโลหะออก
ยิ่งสะสม ยิ่งสร้างเงินได้
ขวดแชมพูหรือน้ำยาสระผมเป็นพลาสติก HDPE สามารถรีไซเคิลได้ ขายได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดสเปรย์ (น้ำหอม)
-
1
ใช้ให้หมด โดยกดจนกระป๋องหมดลม หากใช้ไม่หมดจะถือเป็นขยะอันตราย
-
2
แยกฝากับตัวกระป๋อง เก็บไว้ในที่โล่ง
ดูให้ออกว่าขวดนี้ทำมาจากอะไร
กระป๋องเสปรย์ สามารถทำมาจากเหล็ก หรือ อลูมิเนียม สามารถแยกได้ด้วยการสังเกตโดย กระป๋องเหล็กจะมีตะเข็บที่ก้นกระป๋อง ในขณะที่อลูมิเนียมจะเรียบไม่มีรอยต่อ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดสเปรย์ (สี, ยาฆ่ายุง)
-
1
ใช้ให้หมด โดยกดจนกระป๋องหมดลม หากใช้ไม่หมดจะถือเป็นขยะอันตราย
-
2
แยกฝากับตัวกระป๋อง เก็บไว้ในที่โล่ง
ดูให้ออกว่าขวดนี้ทำมาจากอะไร
กระป๋องเสปรย์ สามารถทำมาจากเหล็ก หรือ อลูมิเนียม สามารถแยกได้ด้วยการสังเกตโดย กระป๋องเหล็กจะมีตะเข็บที่ก้นกระป๋อง ในขณะที่อลูมิเนียมจะเรียบไม่มีรอยต่อ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดสเปรย์โลหะ
-
1
ใช้ให้หมด โดยกดจนกระป๋องหมดลม หากใช้ไม่หมดจะถือเป็นขยะอันตราย
-
2
แยกฝากับตัวกระป๋อง เก็บไว้ในที่โล่ง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดแก้ว
-
1
เทเศษอาหารออกให้หมด
-
2
ล้างทำความสะอาด
-
3
ถอดฝาออก อาจแยกรีไซเคิลตามประเภทของวัสดุ เช่น พลาสติก โลหะ
-
4
ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ขวดแป้งเด็ก
-
1
ใช้ให้หมด ลอกพลาสติกออก ทิ้งรวมกับขยะรีไซเคิล (บางยี่ห้อ)
ทำไมถึงทิ้งได้แค่บางยี่ห้อ?
ขวดแป้งเด็กทำจากพลาสติก HDPE มีคุณสมบัติลอยน้ำ แต่เมื่อต้องการให้ขวดแป้งนิ่ม บางยี่ห้อจึงมีการเติมแคลเซียมคาร์บอเนตจำนวนมากเข้าไปในเนื้อพลาสติก ทำให้กลายเป็นพลาสติกจมน้ำ ในกระบวนการรีไซเคิลจึงยากในการแยก
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
คอตตอนบัดใช้แล้ว
-
1
ใส่คอตตอนบัดที่ใช้แล้วลงในถุง
-
2
หากใช้เช็ดแผล ทิ้งถุงขยะติดเชื้อโดยเฉพาะ
-
3
กรณีไม่มีถังขยะติดเชื้อ มัดปากถุงให้แน่น แยกไว้จากขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
คัตเตอร์
-
1
แยกใบคัตเตอร์และด้ามออกจากกัน
-
2
นำกระดาษมาห่อใบคัตเตอร์ให้มิดชิด และทิ้งลงถังขยะอันตราย
-
3
หากสามารถแยกส่วนที่เป็นพลาสติกออกจากโลหะได้ ให้แยกออก
-
4
ส่วนที่เป็นพลาสติกเก็บรวบรวมและส่งไปที่โครงการ "ส่งพลาสติกกลับบ้าน ส่วนที่เป็นโลหะที่ลงถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
คีม
-
1
หากแยกส่วนที่เป็นยางหรือพลาสติก ออกจากหัวคีมได้ให้แยกออก
-
2
นำชิ้นส่วนที่แยกออกจากกันแล้วทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
จดหมาย
-
1
รวมรวมให้เป็นตั้ง มัดเชือกเพื่อให้ขนย้ายง่าย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
จักรยาน
-
1
จักรยานเป็นขยะชิ้นใหญ่
-
2
กทม. มีบริการทิ้งขยะชิ้นใหญ่ฟรี รับตามจุดต่างๆทุกอาทิตย์ ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
-
3
หรือบริการรับขยะชิ้นใหญ่ถึงที่บ้าน (มีค่าใช้จ่าย) ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฉลากขวดน้ำ
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป ฉลากพลาสติกนั้นเป็นขยะที่จัดการได้ยาก เนื่องจากแต่ละยี่ห้อใช้วัสดุในการผลิตฉลากไม่เหมือนกัน
-
2
ในการทิ้งคือไม่จำเป็นต้องแยกกับขวดน้ำ สามารถทิ้งไปพร้อมกันได้เลย ทำให้ง่ายต่อการเก็บ และนำไปจัดการต่อด้วย
ทำไมฉลากขวดน้ำรีไซเคิลไม่ได้
พลาสติกในการทำฉลากนั้นมีหลากหลาย หากเป็น pvc ถ้าเราเก็บและส่งไปเป็นขยะพลังงานจะทำให้มีการปล่อยสารพิษออกมา ส่งผลเสียโดยรวม จึงควรจะทิ้งไปพร้อมกับขวดให้ทางโรงงานไปจัดการจะเหมาะสมกว่า
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ช้อนส้อมพลาสติก
-
1
แยกชนิด ช้อนส้อมพลาสติกมี 2 ประเภทคือ PS และ PP PP สามารถหักงอได้ PS หักแล้วจะแตกออก
-
2
ทำความสะอาดเบื้องต้น เก็บรวบรวมไว้ ช้อนส้อม PP สามารถเก็บรวบรวมกับพลาสติก PP อื่นได้ เช่นกล่องข้าว PS รวมกับพลาสติก PS อื่นได้เช่น กล่อง CD
งดรับแต่แรกช่วยได้?
ช้อนส้อมที่ได้รับแจกมาจากร้านอาหารหรือร้านสะดวกซื้อปริมาณมาก ไม่เคยถูกนำมาใช้และถูกเก็บสะสมจนกลายเป็นขยะของหลายๆ บ้าน ทางที่ดีที่สุดคือ งดรับตั้งแต่แรกเพื่อลดปัญหาขยะภายหลัง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ช้อนส้อมโลหะ
-
1
ล้างช้อนส้อมให้สะอาด และเช็ดให้แห้ง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ชุดชั้นใน
-
1
ซักชุดชั้นในให้สะอาด ตากให้แห้งและใส่ถุงแยกจากขยะอื่นๆ
-
2
สามารถนำไปทิ้งที่จุดทิ้งชั้นในของ sabina, wacoal ส่งให้กับทาง N15 Technology เพื่อนำไปเผาเป็นพลังงาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ชุดตรวจ ATK
-
1
ส่วนที่ไม่ได้สัมผัสกับน้ำลายหรือสารคัดหลั่งในจมูก ได้แก่ กล่องกระดาษบรรจุภัณฑ์ คู่มือ ทิ้งเป็นขยะรีไซเคิล
-
2
ซองพลาสติกใส่ตลับทดสอบ ไม้ Swab (ไม้แหย่จมูก) ไม้กวาดลิ้น/ช่องปาก ทิ้งเป็นขยะทั่วไป
-
3
ส่วนที่สัมผัสกับน้ำลายหรือสารคัดหลั่งในจมูก ทิ้งเป็นขยะติดชื้อ
ถ้าตรวจไม่พบเชื้อก็รีไซเคิลได้
เคส ATK เป็นพลาสติกเกรด PP หากไม่ได้ติดเชื้อสามารถแกะชิ้นส่วนพลาสติกล้างทำความสะอาดส่งรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ซองซอส
-
1
เทซอสที่เหลือในซองออกให้มากที่สุด
-
2
ทิ้งเป็นขยะทั่วไป
-
3
บางพื้นที่ มีบริการรับซองซอสเพื่อนำไปแปรรูปเป็นเชื้อเพลิง
ปฎิเสธการรับซอสง่ายกว่า
คุณสามารถแจ้งร้านอาหาร หรือร้านเดลิเวอร์รี่ ว่าไม่รับซอส หรือรับในจำนวนที่พอดีกับการรับประทาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ซากสัตว์
-
1
รวมรวบไว้กับเศษอาหาร หรือขยะเปียกอื่นๆ และทิ้งลงถังขยะเปียก
-
2
หากมีพื้นที่หรือบริเวณรอบบ้าน แนะนำให้ขุดหลุมฝังดิน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ดอกไม้ปลอม
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป ดอกไม้ปลอมนั้นแต่ละส่วนทำจากหลากหลายวัสดุมากๆ ทำให้ยากต่อการแยก
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ต้นไม้ที่ตายแล้ว
-
1
หากเป็นต้นไม้ขนาดเล็กสามารถรวมรวบไว้กับเศษอาหาร หรือขยะเปียกอื่นๆ และทิ้งลงถังขยะเปียก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
-
3
สำหรับต้นไม้ขนาดใหญ่แนะนำให้เรียกใช้บริการสำหรับตัดต้นไม้โคตรเฉพาะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ต้นไม้ยังไม่ตาย
-
1
หากเป็นต้นไม้ขนาดเล็กสามารถรวมรวบไว้กับเศษอาหาร หรือขยะเปียกอื่นๆ และทิ้งลงถังขยะเปียก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
-
3
สำหรับต้นไม้ขนาดใหญ่แนะนำให้เรียกใช้บริการสำหรับตัดต้นไม้โคตรเฉพาะ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ตลับขี้ผึ้งนับกระดาษ
-
1
ใช้ขี้ผึ้งให้หมด ล้างและทำความสะอาดตลับให้เรียบร้อย
-
2
นำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ตลับหมึกพิมพ์
-
1
หลังจากที่ใช้หมดแล้ว แนะนำให้เก็บรวบรวมและส่งคืนบริษัทต้นทางที่รับคืน เนื่องจากตลับหมึกมีสารเคมีหลายชนิดที่เป็นอันตราย จึงไม่สามารถทิ้งในขยะทั่วไปได้
ส่วนประกอบของตลับหมึกพิมพ์
ส่วนประกอบของตลับหมึกพิมพ์ผลิตจากวัตถุหลากหลายทั้งพลาสติก โลหะ และผงหมึกที่มีส่วนประกอบของสารเคมีบางตัวที่เป็นสารอันตราย อาจทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ และโรคต่าง ๆ จากโลหะหนักได้ ถ้าหลุดลอยและออกมาปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ตลับเครื่องสำอางค์
-
1
แยกส่วนที่ไม่ได้เป็นวัสดุหลายชนิดออกมาเช่น ฝาพลาสติก
-
2
ส่วนที่ติดกันอยู่เช่นกระจก ถาดสี ถ้าไม่สามารถถอดแยกได้ต้องทิ้งเป็นขยะทั่วไป
ต้องเริ่มที่ต้นทาง
ตลับเครื่องสำอางมีความหลากหลายทั้งรูปแบบ ยี่ห้อ และฟังก์ชั่นการใช้งาน ดังนั้นผู้ผลิตจะต้องเป็นผู้ออกแบบให้แยกส่วนได้ง่ายก่อน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ตู้ปลา
-
1
ทำความสะอาดตู้ปลาให้เรียบร้อยและตากให้แห้ง
-
2
หลังจากนั้นสามารถนำไปวางไว้ข้างถังขยะรีไซเคิลเพื่อให้ง่ายต่อการเก็บได้เลย
วัสดุต่างกันรีไซเคิลได้ไหม?
ทั้งตู้ปลาที่เป็นแบบกระจกและแบบอะคริลิคเป็นวัสดุที่สามารถรีไซเคิลและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ทั้งคู่
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วย จาน ชาม แตก
-
1
หากเป็นวัสดุแก้ว สามารถรีไซเคิลพร้อมขวดแก้วได้
-
2
หากเป็นเซรามิก เก็บเศษถ้วย จาน ชามที่แตก ใส่ลงในกระดาษที่เตรียมไว้ ม้วนกระดาษ เก็บเศษถ้วย จาน ชามให้มิดชิด เขียนตัวหนังสือกำกับเพื่อให้ผู้อื่นสังเกตเห็น ทิ้งในถังขยะทั่วไป
วิธีจัดการกับจานชามเซรามิก?
จานชามเซรามิก ทำมาจากดินเผา ดังนั้นไม่มีความอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สามารถทุบแตกหรือบดละเอียดแล้วเป็นส่วนประกอบของดินได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยกระดาษเคลือบฟิล์มพลาสติก
-
1
ถ้วยอาหารที่การเคลือบชั้นฟิล์มและมีการปนเปื้อนจากอาหารจึงทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปกระดาษ
-
1
เทเศษอาหารออกให้หมด ลงถังขยะเปียก
-
2
ถ้วยกระดาษ และฝา จะมีชั้นพลาสติกเคลือบอยู่ ทำให้รีไซเคิลไม่ได้
-
3
ทิ้งลงในถัง “ถังขยะทั่วไป”
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปพลาสติก
-
1
เทเศษอาหาร: เทเศษบะหมี่ น้ำซุป และเครื่องปรุงรสต่างๆ ลงในถังขยะเศษอาหาร
-
2
ล้างถ้วย: ล้างคราบอาหารและเศษสกปรกออกจากถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปให้สะอาด
-
3
แยกฝา: แยกฝาพลาสติกออกจากตัวถ้วยลงถังขยะทั่วไป
-
4
ตัวถ้วย: ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยฟอยล์
-
1
เทเศษอาหาร เศษกากต่างๆ ออกจากถ้วยฟอยล์ให้หมด
-
2
ล้างถ้วยฟอยล์ด้วยน้ำยาล้างจานให้สะอาด
-
3
เช็ดหรือตากให้แห้ง
-
4
ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ถ้วยฟอยล์ทำมาจาก?
ถ้วยฟอยล์ เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้อลูมิเนียมในการผลิต สามารถนำไปรีไซเคิลได้ 100%
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยอาหาร
-
1
ทานให้หมด หรือเขี่ยเศษอาหารทิ้ง
-
2
(อาจ) ล้างให้สะอาด หรือใช้กระดาษทิชชู่ใช้แล้วเช็ดคราบน้ำมัน เพื่อป้องกันการเน่าเสียและแมลง
-
3
ลอกสติ๊กเกอร์ฉลากติดหน้ากล่อง (ถ้ามี)
-
4
ซ้อนเก็บไว้ขายได้ ฉลากเป็นขยะพลังงานได้
ใช้ครั้งเดียวก็เพียงพอแล้ว?
พลาสติกกล่องอาหารส่วนใหญ่จะเป็นพลาสติกเกรด PP ซึ่งสามารถเข้าไมโครเวฟได้ แต่ไม่ควรนำมาใช้ใส่อาหารซ้ำ เพราะกล่องอาหารออกแบบให้ใช้ครั้งเดียว จะมีรอยหยักเพิ่มความแข็งแรงซึ่งอาจเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ้วยโยเกิร์ต
-
1
ทานจนหมด หรือเทโยเกิร์ตทิ้งในถังขยะเปียก
-
2
ล้างทำความสะอาด
-
3
ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ฝาฟอยด์ก็รีไซเคิลได้
ให้เก็บปั้นเป็นก้อนรวมกับอลูมิเนียมฟอยด์อื่นๆ แล้วทิ้งในถังขยะรีไซเคิลเมื่อปั้นได้ก้อนใหญ่ๆ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถ่านไฟฉาย
-
1
เก็บรวบรวมถ่านไฟฉายใช้แล้วไว้ในถุงพลาสติก หรือถุงดำ
-
2
เขียนข้อความว่า “ขยะพิษ” หรือ “ถ่านไฟฉาย” ใช้แล้วไว้ข้างถุง เจ้าหน้าที่จะได้จัดเก็บอย่างถูกต้อง
-
3
ทิ้งในภาชนะรองรับขยะอันตราย หรือ ทิ้งกับรถขยะของกทม.ตามวันเวลาที่สำนักงานเขตกำหนด
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงกระดาษ
-
1
หากเป็นถุงกระดาษทั่วไป ไม่ได้ผ่านการเคลือบใดๆ สามารถนำไปทิ้งในถังขยะรีไซเคิลได้เลย
-
2
แต่ถ้าถุงกระดาษนั้นมีการเคลือบชั้นฟิล์มให้นำไปทิ้งในถังขยะทั่วไป เนื่องจากไม่สามารถนำกลับไปรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงขนม
-
1
เทหรือทานขนมให้หมด
-
2
(อาจ) พับเพื่อประหยัดพื้นที่ในถังขยะ
ซองถุงขนมก็เป็นประโยชน์?
ถุงขนมวิบวับ ทำมาจากพลาสติกหลายชนิดทำให้รีไซเคิลไม่ได้ แต่สามารถเป็นขยะพลังงานได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงชา
-
1
ฉีดถุงชา นำเศษชารวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
-
3
ตัวถุงชาทั้งแบบพลาสติกและเยื่อกระดาษ รวมถึงเชือกห้อยถุงนั้นผ่านการปนเปื้อนของอาหารมาแล้วจึงทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงน้ำเกลือ
-
1
แยกส่วนที่เป็นโลหะและพลาสติกออกจากอันล้างทำความสะอาด และตากให้แห้ง
-
2
หลังจากนั้น นำโลหะและถุงน้ำเกลือใส่ทุกแยกกันและนำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงฟอยล์
-
1
เทของด้านในให้หมด
-
2
(อาจ) พับเพื่อประหยัดพื้นที่ในถังขยะ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงยางอนามัย
-
1
ใช้กระดาษทิชชู่ หรือ ทิชชู่เปียก ห่อถุงยางที่ใช้แล้วให้มิดชิด
-
2
มัดปมถุงยางให้แน่นเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำอสุจิไหลออกมา
-
3
ทิ้งลงในถังขยะทั่วไปให้ปิดมิดชิด
ถุงยางอนามัยเป็นขยะติดเชื้อ?
ถุงยางอนามัยที่ใช้แล้ว ไม่ใช่ขยะติดเชื้อ แต่ควรทิ้งอย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงสลายตัวได้ ทางชีวภาพ
-
1
ทิ้งขยะทั่วไป หรือส่งเผาเพื่อทำพลังงาน
สาเหตุที่ย่อยได้ทางชีวภาพ
ถุงสลายตัวได้ทางชีวภาพมีอยู่หลายชนิด ส่วนใหญ่ในท้องตลาดจะเป็นชนิด oxo คือการผสมสารแตกตัวเข้ากับพลาสติกทั่วไป ทำให้ถุงแตกตัวกลายเป็นไมโครพลาสติกได้ง่ายขึ้น
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงหิ้วพลาสติก
-
1
ระวังไม่ให้เปียกชื้น หรือมีสิ่งแปลกปลอมติด
-
2
หากเปื้อนมากควรล้างออกพอประมาณแล้วตากหรือเช็ดให้แห้ง
-
3
พับหรือมัดหรือยัดรวมกันไว้ให้แน่นเพื่อประหยัดพื้นที่
ถุงพลาสติกก็ขายได้?
ถุงหิ้วหรือถุงก๊อปแก๊ป ส่วนใหญ่เป็นพลาสติกประเภท HDPE สามารถรีไซเคิลได้ ขายได้ ทดสอบโดยการดึงจะยึดได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงเติม
-
1
เทของด้านในให้หมด
-
2
(อาจ) พับเพื่อประหยัดพื้นที่ในถังขยะ
ลดการใช้อาจจะเป็นประโยชน์กว่า
ถุงรีฟิว ทำมาจากพลาสติกหลายชนิดทำให้รีไซเคิลไม่ได้ แต่สามารถเป็นขยะพลังงานได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ถุงแกง
-
1
เทอาหารออกให้หมด พับถุงให้ชิ้นเล็ก เป็นขยะทั่วไป
-
2
(อาจ) ตัดถุงล้าง ตากแห้ง เป็นขยะพลังงาน
ถุงแกงมีสารปนเปื้อนอาหมานมากกว่าที่คิด
ถุงแกงเป็นฟิล์มพลาสติก PP ซึ่งมีอัตราการรีไซเคิลต่ำ เพราะมีการปนเปื้อนสูง การพกพาชนะใช้ซำ้ได้ช่วยลดการเกิดขยะได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ทิชชู่
-
1
ให้รวมรวมไว้ในถุงขยะ มัดให้แน่น เพื่อป้องกันการสัมผัสจากพนักงานเก็บขยะ
-
2
ทิ้งลงถังขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ทิชชู่เปียก
-
1
แกะส่วนฝาปิดออก เป็นพลาสติกรีไซเคิลได้
-
2
ทิชชู่และซองทิชชู่เป็นชยะทั่วไป
ทิ้งให้ถูกที่ช่วยโลก
ทิชชู่เปียกส่วนใหญ่ทำมาจากพลาสติกไม่ย่อยสลาย ห้ามทิ้งลงชักโครก เพราะจะทำให้ระบบอุดตัน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
นำ้มันปรุงอาหาร
-
1
เทน้ำมันที่ใช้แล้วลงในภาชนะที่ปิดสนิท ทนความร้อน รอให้น้ำมันเย็นสนิท
-
2
ใช้กระชอน หรือตะแกรง แยกกากอาหาร เศษผัก เศษเนื้อสัตว์ ออกจากน้ำมัน
-
3
บริจาค หรือขาย น้ำมันใช้แล้วให้กับหน่วยงานที่รับนำไปผลิตเป็นไบโอดีเซล
-
4
กรณีไม่มีหน่วยงานรับบริจาค หรือรีไซเคิล สามารถนำไปหมักปุ๋ยพร้อมกับเศษอาหารได้ แต่จะใช้เวลาย่อยสลายนานกว่าปกติมาก
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
นิตยสาร
-
1
รวมรวมให้เป็นตั้ง มัดเชือกเพื่อให้ขนย้ายง่าย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
บัตรเครดิต
-
1
หักหรือตัดบัตรเครดิตเป็นชิ้นเล็ก ๆ จากนั้นรวบรวมใส่ถุง และนำไปทิ้งลงในถังขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ผ้าม๊อบดักฝุ่น
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : ผ้าส่วนน้อยมากที่จะสามารถรีไซเคิลได้ บางชนิดไม่สามารถรีไซเคิลได้ จึงทิ้งลงในถังขยะทั่วไป หรือส่งไปที่ N15 Technoly เพื่อนำไปเป็นพลังงานได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ผ้าห่ม
-
1
หากผ้าห่ของคุณยังอยู่ในสภาพดี คุณสามารถบริจาคให้กับองค์กรการกุศลหรือมูลนิธิที่ช่วยเหลือผู้ยากไร้ เช่น มูลนิธิกระจกเงา
-
2
หรือหากเป็นผ้าห่มเก่า ใช้งานไม่ได้แล้ว ให้ทิ้งเป็นขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ผ้าอนามัย
-
1
ลอกผ้าอนามัยม้วน พับ หรือห่อเข้ากับกระดาษ หรือซองใส่ผ้าอนามัยทุกครั้ง
-
2
ทิ้งในถังขยะที่รองรับผ้าอนามัยโดยเฉพาะ
ยางอนามัยเป็นขยะติดเชื้อ?
ถุงยางอนามัยที่ใช้แล้ว ไม่ใช่ขยะติดเชื้อ แต่ควรทิ้งอย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ผ้าอ้อม
-
1
สำหรับผ้าอ้อมชนิดเทปกาว ม้วนปิดเทปกาวให้มิดชิด ไม่ให้อุจจระรั่วไหล
-
2
สำหรับผ้าอ้อมแบบกางเกง ม้วนให้มิดชิด ใช้ยางรัดไว้ไม่ให้คลี่ออก
-
3
ทิ้งแยกในถุงขยะสำหรับทิ้งผ้าอ้อมเด็ก
-
4
ควรติดป้ายไว้หน้าถุงด้วยว่าเป็นผ้าอ้อมเด็กใช้แล้ว เพื่อให้ง่ายต่อการแยกและทำลาย
ผ้าอ้อมรวมถุงกับขยะอื่นได้ไหม?
ผ้าอ้อมเด็กที่ม้วนจะทิ้ง ไม่ควรทิ้งรวมกับขยะอื่น เพราะอาจจะมีเชื้อโรคได้ รวมทั้งการคัดแยกขยะก็จะทำได้ยากขึ้น
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฝอยขัดหม้อ
-
1
ล้างฝอยขัดหม้อให้สะอาด และตากให้แห้งสนิท
-
2
นำฝอยขัดหม้อที่ตากแห้งแล้วทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
วัสดุทำฝอยขัดหม้อ
ฝอยขัดหม้อทำจากสแตนเลส จึงสามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ 100%
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฝาขวดโลหะ
-
1
แยกฝาออกจากขวดแก้ว
-
2
ไม่ต้องแยกพลาสติกที่ติดอยู่ที่ฝาออก
-
3
ทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
พรม
-
1
พรมเป็นขยะชิ้นใหญ่
-
2
กทม. มีบริการทิ้งขยะชิ้นใหญ่ฟรี รับตามจุดต่างๆทุกอาทิตย์ ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
-
3
หรือบริการรับขยะชิ้นใหญ่ถึงที่บ้าน (มีค่าใช้จ่าย) ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
พลาสติก Wrap อาหาร
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป: พลาสติกแรปที่ใช้ห่ออาหารสด มักเปื้อนเศษอาหาร และอาจทำจากพลาสติก หลายชนิด ควรทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
พลาสติกกันกระแทก
-
1
แกะเทปกาวที่ติดอยู่ออกให้หมด
ห่อยังไงให้ช่วยโลก
การห่อกันกระแทก ผู้ห่อควรใช้เทปกาวที่มีสีตรงกันข้ามกับกันกระแทก เพื่อให้ฉีกออกได้ง่าย หรือใช้เทปกาวให้น้อยที่สุด
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฟองน้ำล้างจาน
-
1
ฟองน้ำทำมาจากพลาสติกหลายชนิด รีไซเคิลไม่ได้
-
2
ทิ้งในถังขยะทั่วไป
บวบธรรมชาติก็แทนฟองน้ำได้
สามารถใช้บวบธรรมชาติแทนฟองน้ำพลาสติกได้ ซึ่งสามารถย่อยสลายได้และสะอาดปลอดภัย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฟองน้ำแต่งหน้า
-
1
ทิ้งขยะทั่วไป หรือส่งเผาเพื่อทำพลังงาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ฟิวเจอร์บอร์ด
-
1
ลอกสติ๊กเกอร์ที่ติดอยู่บนฟิวเจอร์บอร์ดออก ตัวเศษสติ๊กเกอร์ เก็บรวบรวมใส่ถุงและทิ้งลงถังขยะทั่วไป
-
2
แผ่นฟิวเจอร์บอร์ดสามารถหักหรือพับแล้วนำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิลได้
ทำไมต้องลอกสติ๊กเกอร์ออก?
สติ๊กเกอร์นั้นมีหลากหลายแบบทั้งแบบกระดาษ และพลาสติก แต่เนื่องจากสติ๊กเกอร์ผ่านการเคลือบของกากเพชร หรือพลาสติกชนิดอื่นๆ ทำให้ยากต่อการรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
มีดโกนด้ามพลาสติก
-
1
ด้ามพลาสติกไม่มีลวดลายหรือมียางกันลื่น เป็นพลาสติก รีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
มูลสัตว์
-
1
นำมูลสัตว์เก็บใส่ถุง แยกจากขยะอื่นๆ และมัดให้แน่น
-
2
เขียนระบุบนถุงว่า "มูลสัตว์"
-
3
วางถุงไว้ “ข้างถังขยะ” เพื่อให้เจ้าหน้าที่เห็นชัด
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ยา
-
1
ควรขูดข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ นามสกุล ออกจากฉลากหรือซองยา เพื่อป้องกันข้อมูลรั่วไหล
-
2
นำยาที่หมดอายุใส่ภาชนะที่ปิดมิดชิด เช่น ถุงซิปล็อค หรือภาชนะพลาสติกที่มีฝาปิด เพื่อป้องกันการรั่วไหล
-
3
เขียนข้อความกำกับบนภาชนะว่า "ยาหมดอายุ"
-
4
ทิ้งในถังขยะอันตราย
อย่าทำแบบนี้น้า
ห้ามทิ้งยาหมดอายุลงชักโครก หรือท่อระบายน้ำ เพราะอาจส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม และห้ามเผายาหมดอายุ เพราะอาจเกิดควันพิษ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ยาดม
-
1
แยกใส้ยาดมออกเป็นขยะอินทรีย์
-
2
แกะสติ๊กเกอร์ออกจากกระป๋อง
กระป๋องยาดมเป็นพลาสติกแบบไหน
กระป๋องยาดมเป็นพลาสติก PP สามารถนำไปขึ้นรูและรีไซเคิลใหม่ได้หากมีการแยกขยะและส่งมอบอย่างถูกวิธี
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ร่มเก่า
-
1
หากร่มยังสามารถซ่อมได้ เช่น ซ่อมแกนหรือเปลี่ยนชิ้นส่วน ควรเลือกซ่อมแซมแทนการทิ้ง
-
2
หากไม่สามารถซ่อมแซมหรือรีไซเคิลได้ ควรแยกชิ้นส่วนที่เป็นโลหะและผ้าและพลาสติก (ถ้าแยกได้)
-
3
ส่วนที่เป็นโลหะทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
-
4
ส่วนที่เป็นผ้าและพลาสติกทิ้งในถังขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
รองเท้า
-
1
ทิ้งขยะทั่วไป หรือส่งไป N15 Technoly เผาเพื่อทำพลังงาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ลวดมัดปากถุง
-
1
พิจารณาว่ามีเส้นลวดหรือไม่มีเส้นลวดโลหะด้านใน
-
2
ถ้ามีเส้นลวดให้ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
-
3
ถ้าไม่มีเส้นลวด สามารถเก็บใส่ภาชนะรวบรวมให้เต็มและนำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ลวดเย็บกระดาษ
-
1
หาภาชนะมาใส่ลูกแม็กที่แกะออก เสีย หรือใช้แล้ว
-
2
เก็บรวบรวมไว้ให้ได้ปริมาณค่อนข้างเยอะหรือจนกว่าจะเต็มภาชนะ
-
3
ปิดภาชนะให้แน่นหนา และนำไปทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
นอกจากรีไซเคิลแล้วทำอะไรได้อีก
ลูกแม็กสามารถเก็บรวบรวมและส่งให้กับสมาคมคนพิการทางการเคลื่อนไหวสากล เพื่อนำไปใช้เป็นส่วนผลิตของไม้ค้ำหรืออุปกรณ์อื่นๆ ด้วย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ลิปสติก
-
1
ใช้ลิปสติกให้หมด หากไม่หมดให้ตัดส่วนที่เป็นลิปสติกออกก่อนนำไปทิ้ง
-
2
ด้ามลิปสติกส่วนใหญ่เป็นพลาสติก แต่เราอาจแยกไม่ออกว่าเป็นพลาสติกชนิดไหน สามารถส่งไปที่โครงการ "ส่งพลาสติกกลับบ้าน" ได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
สายรัดกล่อง
-
1
สายรัดกล่องเป็นพลาสติก สามารถเก็บรวบรวมและทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิลได้
สายรัดกล่องเป็นพลาสติกแบบไหน?
สายรัดกล่องส่วนใหญ่เป็น PP และ PET จึงสามารถนำไปรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
สำลีใช้แล้ว
-
1
ใส่สำลีที่ใช้แล้ว รวมถึงไม้สำลี แผ่นสำลี ก้านสำลี ที่ใช้แล้วลงในถุง
-
2
ทิ้งถุงขยะติดเชื้อในถังขยะติดเชื้อ โดยเฉพาะ
-
3
กรณีไม่มีถังขยะติดเชื้อ มัดปากถุงให้แน่น แยกไว้จากขยะทั่วไป ติดต่อหน่วยงานที่รับกำจัดขยะติดเชื้อในพื้นที่
สำลีทำมาจาก?
สำลีทำจากเส้นใยฝ้าย แต่ใช้เวลาย่อยสลายค่อนข้างนาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หนังยาง
-
1
ทิ้งลงถังขยะทั่วไป วิธีนี้ง่ายที่สุด แต่หนังยางจะไปลงเอยในหลุมฝังกลบ ใช้เวลานานหลายร้อยปีในการย่อยสลาย ไม่แนะนำวิธีนี้สำหรับหนังยางจำนวนมาก
-
2
หากมีหนังยางจำนวนมาก แนะนำให้นำไปบริจาคให้ร้านอาหาร เพื่อนำไปใช้ต่อ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หนังสือพิมพ์
-
1
พับแบน รวมรวมให้เป็นตั้ง มัดเชือกเพื่อให้ขนย้ายง่าย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หน้ากากอนามัย
-
1
พับหรือม้วนให้เป็นชิ้นเล็ก ใส่รวมกันในถุงใสเพื่อสุขอนามัยของผู้เก็บ
-
2
ควรทิ้งที่ถังขยะติดเชื้อที่มีระบบกำจัดชัดเจนเช่น โรงพยาบาลหรือคลินิก
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หมอน
-
1
หากหมอนของคุณยังอยู่ในสภาพดี คุณสามารถบริจาคให้กับองค์กรการกุศลหรือมูลนิธิที่ช่วยเหลือผู้ยากไร้ เช่น มูลนิธิกระจกเงา
-
2
หรือหากเป็นหมอนเก่า ใช้งานไม่ได้แล้ว ให้ทิ้งเป็นขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หม้อสแตนเลส
-
1
ล้าง คราบอาหาร และ สิ่งสกปรก ออกจากหม้อ ให้สะอาด
-
2
(อาจ) แยกส่วนประกอบอื่นออกถ้าทำได้ เช่น หูจับ
-
3
นำหม้อที่แยกชิ้นส่วนและทำความสะอาดแล้ว ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิลโลหะ
แสตนเลสรีไซเคิลได้?
หม้อสแตนเลส โดยทั่วไปผลิตจากโลหะผสมที่มี เหล็ก เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งสามารถ รีไซเคิล ได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หลอดบีบ
-
1
แยกส่วนฝากับหลอด
-
2
ส่วนฝาเป็นพลาสติกรีไซเคิลได้
-
3
ส่วนหลอดเป็นพลาสติกหลายชั้นรีไซเคิลไม่ได้
ใช้ให้หมด ช่วยลดอุปสรรค
นอกจากตัวหลอดเป็นพลาสติกหลายชั้นซึ่งนอกจากรีไซเคิลไม่ได้แล้ว ครีมที่เหลือค้างในหลอดยังเป็นอุปสรรคอีกอย่างนึงด้วย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หลอดพลาสติก
-
1
รวบรวมโดยใช้หนังยางมัดรวมกันไว้ ทิ้งในถังขยะทั่วไป
-
2
สามารถส่งบริจาคเพิ่มหมอนหลอดได้ โครงการหมอนหลอดเพื่อผู้ป่วย
ลดการใช้หลอดนั้นช่วยโลกได้?
หลอดพลาสติก ถึงแม้จะเป็นวัสดุชนิดเดียว (mono material) แต่กลับเป็นขยะที่รีไซเคิลได้ยาก เพราะบางเหมือนพลาสติกฟิลม์ แต่มีรูปทรงเหมือนพลาสติกแข็ง จึงไม่สามารถรีไซเคิลพร้อมกับพลาสติกชนิดอื่นๆ ได้ ซึ่งทำให้การรวบรวมให้ได้ปริมาณเพียงพอต่อการรีไซเคิลทำได้ยาก
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หลอดยาสีฟัน
-
1
แยกส่วนฝาและหลอดออกจากกัน
-
2
ตัดหลอดยาสีฟัน ทำความสะอาด และตากให้แห้ง
-
3
ฝาหลอดยาสีฟันสามารถรวบรวมไว้กับฝาขวดพลาสติกอื่นๆ ส่งขายหรือทิ้งลงถังขยะรีไซเคิลได้
-
4
หลอดยาสีฟันไม่สามารถรีไซเคิลได้ ให้ทิ้งลงในถังขยะทั่วไป
ทำไมถึงรีไซเคิลหลอดยาสีฟันไม่ได้?
หลอดยาสีฟันส่วนใหญ่ผลิตจากวัสดุหลายชนิด การทิ้งหลอดยาสีฟันที่ถูกต้อง ขึ้นอยู่กับประเภทของหลอดยาสีฟัน สามารถส่งหลอดยาสีฟันไปเผาเป็นพลังงานทดแทนได้ที่ N15 Technology สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Facebook : N15 Tachnology
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
หลอดไฟ
-
1
แยกหลอดไฟที่เสียและแตกออกจากกัน
-
2
หลอดไฟแตก ห่อด้วยกระดาษและเขียนกำกับว่า “หลอดไฟแตก”
-
3
หลอดไฟเสีย ใส่ในกล่องหลอดไฟที่ติดมากับหลอดไฟใหม่และทิ้งในถัง “ขยะอันตราย”
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
อลูมิเนียมฟอยล์
-
1
ล้างเศษอาหาร
-
2
ขยำฟอยล์รวมกันเป็นก้อนใหญ่ๆ
-
3
ทิ้งก้อนอลูมิเนียมที่ขยำไว้ลงถังรีไซเคิล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
-
1
แยกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่กล้อง เป็นต้น
-
2
หากมีความจำในเครื่อง ให้ลบข้อมูลให้เรียบร้อย
-
3
สามารถดูสถานที่ทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่นี่ หรือจะส่งทิ้งผ่านไปรษณีย์ก็ได้นะ
คำแนะนำก่อนทิ้ง
ลบข้อมูลและภาพในโทรศัพท์และแท็บเล็ตให้เรียบร้อย ถอดเมมโมรีการ์ดออกก่อน และหากแบตบวมให้แช่น้ำ 5 ชม. เพื่อลดประจุพลังงาน และใส่ถุงหรือห่อกระดาษก่อนทิ้ง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เข็มฉีดยา
-
1
เตรียมหาภาชนะที่มิดชิดมาเพื่อใส่เข็มฉีดยา เช่น กระบอกเก็บเข็มฉีดยาตามมาตรฐานหาซื้อได้ตามร้านขายยา กระปุกใส่เม็ดยาที่ใช้แล้ว ขวดแกลลอนพลาสติกแข็งที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ หรือหากหาของข้างต้นไม่ได้ก็สามารถใช้ขวดน้ำพลาสติกแทนได้
-
2
นำเข็มฉีดยาที่ใช้แล้วใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้และนำไปถิ้งลงในถังขยะติดเชื้อ หรือส่งให้กับทางโรงพยาบาลที่รับ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เครื่องคิดเลขเสีย
-
1
เครื่องคิดเลข แม้ว่าภายนอกจะเป็นพลาสติก แต่ว่ามีแผงวงจรและประจุด้านใน จึงแนะนำให้ทิ้งรวมกับขยะอันตราย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็ก
-
1
พิจารณาโครงสร้างหลักของเครื่องใชัไฟฟ้านั้น หากเป็นโครงโลหะ ส่วนใหญ่สามารถนำไปขายร้านของเก่าเพื่อถอดแยกอุปกรณ์และนำไปรีไซเคิลต่อ แต่หากเป็นพลาสติก มักจะมีการรับซื้อน้อย
-
2
สามารถบริจาคองค์กรต่างๆ อาทิ "มูลนิธิกระจกเงา" เพื่อทำการซ่อมแซม เพื่อนำกลับมาใช้งานใหม่
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เคสมือถือ
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : เคสโทรศัพท์มือถือนั้นผลิตจากวัสดุหลากหลายประเภท บางประเภทไม่สามารถรีไซเคิลได้ จึงควรทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
มีเคสแบบรีไซเคิลได้ไหม?
ปัจจุบันมีเคสที่ออกแบบมาให้สามารถนำไปรีไซเคิลหรือย่อยสลายได้ ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ผลิต
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เชือก
-
1
เชือกบางชนิดมีการเคลือบกาว หรือสารต่างๆ หากไม่หมดสภาพ ยังนำไปใช้ต่อได้ ถ้าไม่สามารถใช้ได้แล้ว ให้นำไปทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เปลือกไข่
-
1
1. รวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เฟอร์นิเจอร์
-
1
เฟอร์นิเจอร์ถือเป็นขยะชิ้นใหญ่
-
2
กทม. มีบริการทิ้งขยะชิ้นใหญ่ฟรี รับตามจุดต่างๆทุกอาทิตย์ ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
-
3
หรือบริการรับขยะชิ้นใหญ่ถึงที่บ้าน (มีค่าใช้จ่าย) ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
การทิ้งขยะชิ้นใหญ่ไม่ถูกที่ มีโทษปรับ !
ทิ้งนอกจุดที่กำหนด: ปรับ 2,000 บาท ทิ้งลงในทางน้ำ: ปรับ 10,000 บาท นอกจากนี้ ยังมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เมมโมรี่การ์ด
-
1
สามารถบริจาคให้หลายโครงการเช่น โครงการ คนไทยไร้อีเวสต์ กับไปรษณีย์ไทย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เมาส์
-
1
นำไปทิ้งที่จุดทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์
-
2
สามารถบริจาคให้หลายโครงการเช่น โครงการ คนไทยไร้อีเวสต์ กับไปรษณีย์ไทย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เศษผลไม้และผัก
-
1
รวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เศษเนื้อสัตว์
-
1
รวบรวมไว้ในถุงเดียวกับเศษอาหารอื่น โดยพยายามแยกน้ำออก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เศษแก้ว
-
1
ห่อด้วยกระดาษ มัดให้แน่น
-
2
ใส่ถุงพลาสติกทับอีกชั้น ผูกปากถุง
-
3
เขียนกำกับว่า “เศษแก้วแตก”
-
4
วางถุงไว้ “ข้างถังขยะรีไซเคิล” เพื่อให้เจ้าหน้าที่เห็นชัด
เศษแก้วรีไซเคิลได้
แม้ว่าเศษแก้วที่แตกจะดูเป็นขยะอันตราย แต่จริงๆ แล้วนับเป็นขยะรีไซเคิล เราสามารถทิ้งลงถังขยะรีไซเคิลได้ เพื่อที่จะนำมันกลับไปหลอมใหม่
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เศษใบไม้กิ่งไม้
-
1
รวมรวบไว้กับเศษอาหาร หรือขยะเปียกอื่นๆ และทิ้งลงถังขยะเปียก
-
2
(อาจ) หมักปุ๋ยจากขยะอินทรีย์เอง หรือ ทิ้งพร้อมกันระบบการหมักปุ๋ยส่วนกลาง (ถ้ามี)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหมักปุ๋ย
การหมักปุ๋ยจากเศษอาหารมีได้หลายวิธีท้ังระบบเปิดและระบบปิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานที่ ปริมาณ และความเหมาะสม
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
เสื้อผ้า
-
1
แยกเสื้อผ้าที่ยังอยู่ในสภาพดี สีไม่ซีด ขาดรุ่ย ไม่มีตำหนิ
-
2
มอบให้กับมูลนิธิ สถานสงเคราะห์ หรือองค์กรที่รับบริจาคเสื้อผ้า
-
3
หากไม่สามารถใช้ต่อได้ นำไปบริจาคให้กับโครงการรับรีไซเคิลเสื้อผ้า เช่น โครงการ Upcycle by Greenleaf โครงการ Re-Born Project โครงการ Chic Refashion
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แก้วกาแฟกระดาษ
-
1
แกะปลอกกระดาษด้านนอก สามารถรีไซเคิลได้
-
2
กระดาษด้านในเคลือบพลาสติก อาจปนเปื้อนและรีไซเคิลได้ยาก สามารถทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ส่วนประกอบของแก้วกระดาษ
ส่วนประกอบของแก้วกระดาษนั้นด้านในมีการเคลือบพลาสติกเอ้าไว้เพื่อให้สามารถใส่น้ำได้ ในกระบวนการแยกพลาสติกกับใยกระดาษออกจากกันนั้นเป็นขั้นตอนที่ยาก ในปัจจุบันจึงต้องทิ้งเป็นขยะทั่วไปไปก่อน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แก้วน้ำแตก
-
1
หากเป็นวัสดุแก้ว สามารถรีไซเคิลพร้อมขวดแก้วได้
-
2
หากเป็นเซรามิก เก็บเศษถ้วย จาน ชามที่แตก ใส่ลงในกระดาษที่เตรียมไว้ ม้วนกระดาษ เก็บเศษถ้วย จาน ชามให้มิดชิด เขียนตัวหนังสือกำกับเพื่อให้ผู้อื่นสังเกตเห็น ทิ้งในถังขยะทั่วไป
วิธีจัดการกับแก้วเซรามิก?
แก้วเซรามิก ทำมาจากดินเผา ดังนั้นไม่มีความอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สามารถทุบแตกหรือบดละเอียดแล้วเป็นส่วนประกอบของดินได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แก้วพลาสติก
-
1
เทน้ำและน้ำแข็งออกให้หมด
-
2
ซ้อนเก็บ รวบรวมเพื่อขายหรือบริจาค ทิ้งลงในถังขยะรีไซเคิล
สัญลักษณ์บนแก้วบอกอะไรได้?
สังเกตสัญลักษณ์รีไซเคิลและตัวหนังสือ PET,PP แก้วพลาสติก PET เป็นวัสดุที่รีไซเคิลได้ แต่ไม่ค่อยแพร่หลายนัก อาจจะนำไปขายตามร้านของเก่าไม่ได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แก้วพลาสติก (ชานมไข่มุก)
-
1
เจาะฟิล์มปิดปากแก้วเพื่อเทน้ำและน้ำแข็งออกให้หมด
-
2
(อาจ) ดึงฟิล์มปิดปากแก้วออกให้หมด ตัวแก้วเป็นพลาสติก PP รีไซเคิลได้
กลิ่นขยะก็สำคัญนะ?
การเหลือน้ำแข็งหรือไข่มุกไว้ในแก้ว อาจจะทำให้ขยะอื่นๆ เปียกและเน่าเสียไปด้วย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แก๊สกระป๋อง
-
1
ใช้ให้หมด โดยกดจนกระป๋องหมดลม
-
2
แยกฝากับตัวกระป๋อง เก็บไว้ในที่โล่ง
-
3
นำไปขาย หรือทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
กระป๋องเหล็กและอลูมิเนียมต่างกันยังไง
กระป๋องเสปรย์ สามารถทำมาจากเหล็กหรือ อลูมิเนียม สามารถแยกได้ด้วยการสังเกตโดย กระป๋องเหล็กจะมีตะเข็บที่ก้นกระป๋อง ในขณะที่อลูมิเนียมจะเรียบไม่มีรอยต่อ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แคปซูลกาแฟอลูมิเนียม
-
1
แยกแคปซูลกับกากกาแฟออกจากกัน
-
2
ล้างแคปซูลให้สะอาดและทิ้งในถังขยะรีไซเคิล
แคปซูลกาแฟไม่เหมือนกัน?
แคปซูลกาแฟ มีสองชนิดคือ พลาสติกและอลูมิเนียม หากเป็นพลาสติกจะรีไซเคิลไม่ได้ แต่อะลูมิเนียมเมื่อแกะกากกาแฟออกสามารถรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แบตเตอรี่รถยนต์
-
1
นำแบตเตอรี่รถยนต์เก่าของไปขายให้กับร้านแบตเตอรี่รถยนต์ เพื่อนำกลับเข้าไปสู่ขบวนการรีไซเคิล ลดปัญหามลพิษทางตรง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แบตเตอรี่สำรอง
-
1
นำไปทิ้งที่จุดทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์
-
2
สามารถบริจาคให้หลายโครงการเช่น โครงการ คนไทยไร้อีเวสต์ กับไปรษณีย์ไทย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แป้นคีย์บอร์ด
-
1
นำไปทิ้งที่จุดทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์
-
2
สามารถบริจาคให้หลายโครงการเช่น โครงการ คนไทยไร้อีเวสต์ กับไปรษณีย์ไทย
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แปรงทาสี
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : เนื่องจากมีหลายวัสดุรวมกันทั้ง อลูมิเนียมแบบบาง ด้ามไม้ และขนแปรง จีงควรทิ้งในถังขยะทั่วไป
วิธีช่วยลดปริมาณขยะ
หากสามารถแยกชิ้นส่วนเองได้ ก็จะทำให้ลดจำนวนขยะลงได้ และสามารถนำไปกำจัดได้อย่างถูกวิธี
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แปรงสีฟัน
-
1
แปรงที่ด้ามแปรงไม่มีลวดลายหรือมียางกันลื่น สามารถตัดเฉพาะหัวขนแปรงทิ้ง ส่วนด้ามเป็นพลาสติก รีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แผ่นกระจก
-
1
หากเป็นกระจกแบบแผ่นแต็มสมบูรณ์ สามารถทำความสะอาดแล้วตากให้แห้ง
-
2
หากกระจกชำรุดหรือแตกหัก ให้รวบรวมและนำกระดาษมาห่อพร้อมเขียนกำกับว่า "เศษกระจกแตก"
-
3
นำกระจกแผ่นเต็มไปตั้งไว้ข้างถังขยะรีไซเคิล ส่วนที่เป็นเศษกระจกที่ห่อแล้วให้ทิ้งลงถัง
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แผ่นมาส์กหน้า
-
1
ทิ้งขยะทั่วไป หรือส่งเผาเพื่อทำพลังงาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
แว่นตา
-
1
ทิ้งขยะทั่วไป หรือส่งเผาเพื่อทำพลังงาน
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
โคมไฟ
-
1
ถอดหลอดไฟออกจากตัวโคมไฟ นำหลอดไฟที่จะทิ้งห่อกระดาษหลายๆ ชั้น หรือใส่กล่อง พร้อมเขียนข้อความ "หลอดไฟใช้แล้ว" ทิ้งลงในถังขยะอันตราย
-
2
ตัวโคมไฟมักเป็นโครงสร้างที่ทำจากเหล็ก และมีการเดินสายไฟ สามารถถอดแยกองค์ประกอบเพื่อรีไซเคิลได้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
โทรทัศน์
-
1
โทรทัศน์เป็นขยะชิ้นใหญ่
-
2
กทม. มีบริการทิ้งขยะชิ้นใหญ่ฟรี รับตามจุดต่างๆทุกอาทิตย์ ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
-
3
หรือบริการรับขยะชิ้นใหญ่ถึงที่บ้าน (มีค่าใช้จ่าย) ติดตามข้อมูลได้จากหน้านี้
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ใบมีดโกน
-
1
สามารถเก็บรวบรวมไว้ในกระป๋องเหล็กให้มิดชิดร่วมกับวัสดุมีคมอื่น เช่นตะปูน๊อต สามารถขายเป็นเศษเหล็กได้
-
2
หากต้องการทิ้งให้ใช้กระดาษหรือหนังสือพิมพ์ ห่อใบมีดโกนให้มิดชิด เขียนระบุบนห่อหรือกล่องที่เก็บว่า "ของมีคม"
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ใบเสร็จ
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : เนื่องจากกระดาษใบเสร็จส่วนใหญ่เป็นกระดาษพิเศษที่ผ่านการเคลือบสารเคมี
ทำไมใบเสร็จรีไซเคิลไม่ได้?
กระดาษที่ใบเสร็จเคลือบด้วยสารเคมีอย่าง Bisphenol A (BPA) เป็นต้นตอของโรคร้าย ๆ อย่างมะเร็งและเบาหวาน แถมยังทำให้ฮอร์โมนร่างกายเสียสมดุล
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไฟแช็ก
-
1
ใช้จนหมด หรือหากไฟแช็กชำรุด ให้นำหนังยางมามัดเป็นแนวตั้งระหว่างบริเวณที่จุดไฟแช็ก และรอให้เชื้อเพลิงหมด
-
2
นำไปทิ้งลงในถังขยะอันตรายหรือส่งให้โครงการ Trash Hero Pattani เพื่อนำไปทำกระเบื้อง Terazzo สไตล์หินขัดและผลิตภัณฑ์อื่นๆ เช่น โคมไฟ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไม้เสียบ
-
1
หักไม้เสียบลูกชิ้นเป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อไม่ให้อันตรายต่อพี่ๆพนักงานเก็บขยะ
-
2
หรือหักเป็นท่อนๆแล้วมัดรวมกันด้วยหนังยาง
-
3
ทิ้งในถังขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไม้แขวนเสื้อโลหะ/พลาสติก
-
1
แยกประเภทไม้แขวนเสื้อ หากสภาพดี ไม่ชำรุด สามารถนำไปบริจาค ขายต่อ หรือแปรรูป
-
2
ไม้แขวนเสื้อที่ชำรุด แตกหัก ไม่สามารถใช้งานต่อได้ ทิ้งในถังขยะทั่วไป หรือถังขยะรีไซเคิลตามประเภทของวัสดุ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไม้แขวนเสื้อไม้
-
1
(อาจ) แยกส่วนประกอบที่เป็นโลหะ สามารถรีไซเคิลได้
-
2
ส่วนที่เป็นไม้ ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไส้กรองน้ำ
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : เนื่องจากส่วนประกอบของไส้กรองน้ำนั้นไม่สามารถนำไปรีไซเคิลได้ จึงทิ้งรวมกับขยะทั่วไป
-
2
สำหรับไส้กรองคาร์บอน แนะนำให้แยกผงถ่านออกและนำไปใส่ต้นไม้ได้
วิธีอื่นสำหรับการทิ้งไส้กรองน้ำ
ไส้กรองน้ำ เมื่อใช้งานจนครบอายุ ควรทิ้งอย่างถูกต้อง เพื่อลดปริมาณขยะ และรักษาสิ่งแวดล้อม สามารถส่งไส้กรองน้ำให้ N15 Technology เพื่อนำไปให้ทางเจ้าหน้าที่จัดการต่อไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Facebook : N15 Tachnology
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get
ไส้เครื่องฟอกอากาศ
-
1
ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป : เนื่องจากไส้กรองเครื่องฟอกอากาศนั้นทำจากวัสดุหลากหลายชนิด และยากต่อการแยกชิ้นส่วน บางยี่ห้อมีลวดที่เป็นโลหะอยู่ด้านใน ทาง N15 Technology ไม่รับนำไปเผาเพื่อเป็นพลังงาน จึงต้องส่งไปที่หลุมฝังหลบ
ดูผู้รับขยะใกล้ตัวได้ที่แอปพลิเคชั่น Green2Get
ค้นหาข้อมูลร้านรับซื้อขยะรีไซเคิล ร้านรับซื้อของเก่า จุดรับบริจาค และองค์กรต่างๆ ที่รับวัสดุเหลือใช้ได้ที่ Application Green2Get