Skip to content
Greener Bangkok
เมนู
กลับสู่หน้าฝุ่น PM2.5

สถานีตรวจวัด
คุณภาพอากาศ

เราอาจหลีกเลี่ยงฝุ่น PM2.5 ไม่ได้เสียทีเดียว แต่เราสามารถป้องกัน และลดผลกระทบ ได้มาก
ที่สุดหากรู้สถานการณ์ได้เร็ว เราจึงจัดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ วิเคราะห์คุณภาพ
ในบริเวณนั้นๆ เพื่อเป้าหมายในการเฝ้าระวังและแก้ปัญหาได้ทันท่วงที

ประโยชน์

  • วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงของคุณภาพอากาศ
  • เฝ้าระวังและแจ้งเตือนประชาชน
  • เตรียมรับมือกับสถานการณ์และป้องกันตัวเอง

วิธีการทำงาน

1

ดูดอากาศ: เครื่องจะดูดอากาศและฝุ่นเข้ามาตลอดเวลา

2

คัดแยกฝุ่น: เครื่องจะคัดแยกฝุ่นขนาด PM2.5 ออกจากฝุ่นขนาดอื่นๆ

3

ดูดอากาศ: ฝุ่น PM2.5 จะผ่าน Heater ไล่ความชื้นออกจากอากาศ

4

ดักจับฝุ่น: ฝุ่น PM2.5 จะถูกดักจับบนแผ่นกรอง (Filter Tape)

5

วัดค่า: เครื่องจะวัดปริมาณรังสีที่ผ่านแผ่นกรอง

6

แสดงผล: เครื่องจะแสดงค่าฝุ่น PM2.5 ทุกๆ 1 นาที

ความแตกต่างระหว่าง
สถานีตรวจกับเครื่องวัดพกพา

สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เครื่องวัดพกพา

ความแม่นยำ

สูง

น้อย

ระบบกำจัดความชื้น

มี

บางรุ่นไม่มี หากไม่มีระบบไล่ความชื้น อาจทำให้ค่า PM2.5 ที่วัดได้สูงเกินความเป็นจริง

คัดแยกขนาดฝุ่น

ถูกต้อง

อาจคลาดเคลื่อน

ข้อมูล

ครบถ้วน

ไม่ครบถ้วน

บำรุงรักษา

สม่ำเสมอ

ไม่สม่ำเสมอ

การใช้งาน

จัดการคุณภาพอากาศระดับประเทศ

ตรวจวัดทั่วไป

กรุงเทพมหานครมี
สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ทั้งหมด 523 จุด

  • KU Tower  1 จุด
  • Sensor NT  452 จุด
  • สถานีตรวจวัด  70 จุด

เรื่องอื่นๆที่น่าสนใจ

โครงการเครือข่าย
Work from home

ลงทะเบียนองค์กรที่จะ
Work from Home หากค่าฝุ่นสูง

รับมือฝุ่นแบบ
เรียลไทม์ผ่าน
LINE Alert

การแจ้งเตือนเมื่อค่าฝุ่น
PM 2.5 เกินมาตรฐาน

โครงการตรวจ
คุณภาพอากาศเชิงรุก

ตรวจสอบโรงงาน และรถยนต์ พร้อมสั่งแก้ไขหากเกินเกณฑ์

คุณชอบเนื้อหาหน้านี้ไหม?
ชอบไม่ชอบ