Skip to content
Greener Bangkok
menu

โครงการสวน
15 นาที

คุณอยากมีสวนสวยๆ อยู่ใกล้บ้านไหม?

โครงการที่จะสร้างสวนสาธารณะขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ของกรุงเทพฯเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพื้นที่สีเขียวได้ภายใน 15 นาที

ทำไมเราถึงต้องการ
สวน 15 นาที?

ขาดแคลนพื้นที่สีเขียว

ปัจจุบันพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพฯ มีเพียง 2.6% ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งถือว่าต่ำมากเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่ๆ อื่นๆ ในโลก

มลพิษ

กรุงเทพฯ เผชิญปัญหามลพิษทาง อากาศอย่างรุนแรง สวน 15 นาทีจะช่วยดูดซับมลพิษทางอากาศและสร้างอากาศบริสุทธิ์ให้กับประชาชน

สุขภาพและจิตใจ

สวน 15 นาทีจะช่วยให้ประชาชน มีพื้นที่สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ ออกกำลังกาย และทำกิจกรรมต่างๆ

flood

สวน 15 นาทีสามารถช่วยกักเก็บ น้ำฝนและลดปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพฯ ได้

สวนที่ “ทุกคน” มีส่วนร่วม

ร่วมค้นหาพื้นที่
เสนอแนะพื้นที่ว่างในชุมชนของคุณ ที่เหมาะกับการสร้างสวน 15 นาที อาจจะเป็นพื้นที่รกร้างสวนสาธารณะ พื้นที่ส่วนกลางของคอนโดมิเนียม หรือพื้นที่อื่นๆ
ร่วมออกแบบ
  • ร่วมแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบสวน
  • บอกเล่าความต้องการของคุณ ว่าอยากให้สวนมีอะไรบ้าง
ร่วมลงทุน
  • บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการก่อสร้างและดูแลรักษาสวน
  • สามารถบริจาคได้ทั้งแบบรายบุคคล และแบบองค์กร
ร่วมดูแลรักษา
  • ร่วมเป็นอาสาสมัครดูแลรักษาสวน 15 นาที
  • กิจกรรมอาสาสมัคร เช่น รดน้ำต้นไม้ เก็บขยะ ปลูกต้นไม้

พื้นที่ว่าง = โอกาส

เมืองของเรามีพื้นที่ว่างมากมาย รอการพัฒนา พื้นที่เหล่านี้เป็นโอกาสในการสร้าง "สวน 15 นาที" พื้นที่สีเขียวที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้

พื้นที่เล็ก
ผลกระทบใหญ่

สวน 15 นาที ไม่จำเป็นต้องเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ พื้นที่เล็ก ๆ เช่น ลานกีฬา ริมทางเท้า หรือพื้นที่รกร้าง ก็สามารถพัฒนา เป็นสวนสาธารณะขนาดย่อม

สวน สู่ ย่าน

มากกว่าแค่พื้นที่สีเขียว สวน 15 นาที เชื่อมต่อกันด้วย เส้นทางเดินร่มไม้ เนรมิตกรุงเทพให้เป็น เมืองสีเขียว ที่พร้อมให้ทุกคนใช้งานได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ไม่ใช่แค่มีสวน แต่ต้องเป็น
สวนที่ตอบโจทย์การใช้งาน

  • “สวนรกร้าง” ปัญหาใหญ่ที่พบเจอบ่อย
  • สาเหตุหลักคือ สวนถูกสร้างขึ้นโดยไม่มีส่วนร่วมจาก "คนในชุมชน"
  • วิธีแก้ไข คือออกแบบสวนให้หลากหลาย ตอบโจทย์การใช้งานของ "ทุกคน"

สวนเพื่อพัฒนาชุมชน
และคุณภาพชีวิต

สวนที่มีพื้นที่สำหรับ
กิจกรรมสร้างสรรค์

สวนที่มีความหลากหลาย
ทางชีวภาพ

สวนที่อยู่ข้างๆ
เส้นทางการเดินทาง

สวนที่อยู่ริมน้ำ

สวนเกษตรในเมือง

สวนสานธารณะ

สานฝัน สานอดีต สู่อนาคต

ประเภทสวน

สวนสำหรับกิจกรรมทางวัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์

แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน

3,658

สถานะ : สร้างเสร็จ

สวนวัดหัวลำโพงรุกขนิเวศน์

"สวนข้างบ้าน" ของชุมชนหลังวัดหัวลำโพง

ประเภทสวน

สวนชุมชน ส่งเสริมสุขภาพ

แขวงสี่พระยา เขตบางรัก

1,000

สถานะ : สร้างเสร็จ

สวนป่าสัก

พื้นที่แห่งการเรียนรู้ระบบนิเวศของเยาวชนและคนเมือง

ประเภทสวน

สวนที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ

แขวงจอมพล เขตจตุจักร

3,200

สถานะ : กำลังดำเนินการ

สวนชุมชนโชฎึก

พื้นที่เล่นและเรียนรู้ของคนต่างวัย ริมคลองประวัติศาสตร์

ประเภทสวน

สวนที่อยู่ข้างๆการเดินทาง

แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์

410

สถานะ : สร้างเสร็จ

คันนายาว Popup park

มีพื้นที่ให้ประชาชนได้พักผ่อนริมน้ำ

ประเภทสวน

สวนริมน้ำ

แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว

2,045

สถานะ : สร้างเสร็จ

15 minutes to the park
ตอนนี้มี 208 สวน

ดูสวนทั้งหมด

มีพื้นที่ว่าง? บริจาคพื้นที่
ทำสวนสาธารณะ ลดภาษีได้

  • บริจาคอย่างน้อย 7 ปี
  • กทม.ดูแลการปรับปรุงพื้นที่ให้

มูลค่าที่ดิน ต่อไร่

บาท

จำนวนไร่

ไร่

มีสิทธิ์ลดภาษีที่ดินได้

0บาท/ปี *

* สูตรนี้เป็นเพียงการคำนวณคร่าวๆ เท่านั้น ภาษีที่ต้องชำระจริงอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ลักษณะการใช้ประโยชน์ของที่ดิน สถานะของเจ้าของ ฯลฯ

เป้าหมายต่อไป

กทม. ตั้งเป้าเพิ่มพื้นที่สีเขียว

10 ตรม./คน

องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุไว้ว่า ค่าเฉลี่ยอัตราพื้นที่สีเขียว ต่อจำนวนประชากรควรอยู่ที่ 9. ตรม./คน หรือมากกว่า

สามารถเข้า
พื้นที่สีเขียวในระยะเวลา 15 นาที
50%

มีพื้นที่ร่มไม้
30%
ภายในปี 2573

target

15

ย่านสีเขียว

  • อโศก
  • เพลินจิต
  • ราชประสงค์
  • Phayathai
  • มักกะสัน
  • สีลม
  • Lak Si
  • นางเลิ้ง
  • Sampanthawong
  • ทองหล่อ-เอกมัย
  • Phra Khanong
  • Bangkapi
  • Taling Chan
  • Nong Khaem
  • พระราม4

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Explore public parks in Bangkok.

Bangkok has 47 public parks.
Are you ready to explore?

Arborist Project
Take care of the district trees

Who is an arborist and what is his/her role? How does it affect the environment in Bangkok?

project
Million Trees

Tree planting project
To let trees take care of the city

Do you like the content of this page?
likedo not like